Page 63 - 60 ปี สศค
P. 63

ภููมิิคุ้้�มิกัันภูาคุ้กัารคุ้ลัังกัับวิิกัฤต COVID-19

                      ดิร.นวิพลั ภูิญโญอนันตพงษี์
                      สิ่ำนักันโยบายกัารคุ้ลััง


                     บทความฉบับนี้้�ม้วัตถุุประสงค์เพื่่�อนี้ำเสนี้อแนี้วคิดสำหรับการวิเคราะห์ความเส้�ยงทางการคลัังจากมุมมองเชิิงวิชิาการต่าง ๆ เพื่่�อประเมินี้ว่า
                 ท่ามกลัางความย่ดเย่�อของสถุานี้การณ์์การแพื่ร่ระบาดของโรคติดเชิ่�อไวรัสโคโรนี้า 2019 แลัะระดับหนี้้�สาธารณ์ะท้�เพื่ิ�มข้�นี้ ประเทศไทยยังคงม้พื่่�นี้ท้�ว่าง
                 ทางการคลััง (Fiscal Space) เพื่่�อรองรับความจำเป็นี้ในี้การดำเนี้ินี้นี้โยบายการคลัังแบบขยายตัวเพื่ิ�มเติมอ้กหร่อไม่ ซึ่้�งผลัการศ้กษาได้สะท้อนี้ทิศทาง

                 สนี้ับสนีุ้นี้ระดับความเส้�ยงท้�ยังอย่่ในี้ระดับบริหารจัดการได้ภายใต้การติดตามแลัะวิเคราะห์อย่างใกลั้ชิิด โดยม้ปัจจัยท้�เก่�อหนีุ้นี้ต่อการดำเนี้ินี้นี้โยบาย
                 การคลััง กลั่าวค่อ อัตราดอกเบ้�ยอย่่ในี้ระดับต�ำเม่�อเท้ยบกับอด้ต โครงสร้างงบประมาณ์กับการขยายตัวทางเศรษฐกิจในี้ระยะปานี้กลัางยังคงเอ่�อต่อ
                 การควบคุมระดับสัดส่วนี้หนี้้�สาธารณ์ะต่อ GDP ดุลับัญชิ้เดินี้สะพื่ัดเกินี้ดุลัต่อเนี้่�องแลัะโครงสร้างหนี้้�สาธารณ์ะส่วนี้ใหญ่เป็นี้หนี้้�ในี้ประเทศ นี้อกจากนี้้�
                 ค่าดัชินี้้รวมเต่อนี้ภัยทางการคลัังภายใต้ระบบสัญญาณ์เต่อนี้ภัยทางการคลัังลั่วงหนี้้ายังอย่่ในี้ระดับปกติ (แต่แสดงแนี้วโนี้้มส่งข้�นี้) โดยตัวบ่งชิ้�ลั่วงหนี้้า
                 ในี้ภาคการเงินี้แลัะภาคปัจจัยภายนี้อกในี้ภาพื่รวมยังอย่่ในี้ระดับม้เสถุ้ยรภาพื่



                    1.  บทนำ


                     ความท้้าท้ายประการหนึ่่�งของการดำเนึ่ินึ่นึ่โยบายการคลัังท้่�ด่
                 นึ่ั�นึ่คือ การดำเนึ่ินึ่นึ่โยบายการคลัังแบบสวนึ่ท้างกับวัฏจัักรเศรษฐกิจั
                 (Counter-cyclical Fiscal Policies) ควบค่�กับการรักษาวินึ่ัยการคลัังในึ่
                 ระยะยาว สถานการณ์์การแพร่ระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรัสโคโรนา 2019
                 (COVID-19) ได้ส่งผลกระทบติ่อเสถียรภาพของภาคเศรษฐกิจจริงให้้
                 ชื้ะลอติัวลง ดังนั�น ติามห้ลักการดำเนินนโยบายการคลังแบบสวนทาง

                 กับวัฏจักรเศรษฐกิจแล้ว ภาคการคลังย่อมจำเป็็นติ้องดำเนินนโยบาย
                 การคลังแบบขยายติัว โดยยอมแบกรับความเสี�ยงเพิ�มข้�นเพ้�อรักษา
                 เสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจไว้ แติ่ทั�งนี�จะติ้องควบคุมไม่ให้้ระดับ
                 ความเสี�ยงดังกล่าวเกินขอบเขติที�บริห้ารจัดการได้ ท่ามกลางเศรษฐกิจไทย
                 ที�ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ในป็ี 2563
                 และ 2564 การใชื้้จ่ายของภาครัฐทั�งในด้านการลงทุนและการอุป็โภค
                 ได้เป็็นเคร้�องยนติ์ห้ลักในการชื้่วยพยุงเศรษฐกิจของป็ระเทศที�สำคัญยิ�ง
                 โดยการลงทุนและการอุป็โภคภาครัฐในป็ี 2563 ขยายติัวได้ร้อยละ 5.7
                 และ 0.9 และในป็ี 2564 คาดว่าจะขยายติัวได้ร้อยละ 9.3 และ 5.1 1

                 ติามลำดับ อย่างไรก็ดี ความจำเป็็นในการดำเนินมาติรการทาง
                 การคลังติ่าง ๆ เพ้�อเยียวยาและบรรเทาความเด้อดร้อนของป็ระชื้าชื้น
                 รวมไป็ถ้งบรรเทาภาระของผ้้ป็ระกอบการที�ได้รับผลกระทบจากการ
                 แพร่ระบาดของโรค COVID-19 ได้ส่งผลกระทบติ่อเสถียรภาพของ

                     1  ป็ระมาณ์การโดยสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห้่งชื้าติิ ณ์ เด้อนพฤษภาคม 2564






                                                                                         60 ปี วิวัฒน์การเงินการคลังไทย สู่ก้าวต่อไปเพื่อเศรษฐกิจสมดุล  61
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68