Page 146 - 60 ปี สศค
P. 146

การเงิินและการลงิทุุน



                     (3) ประโยชนึ่์ของการคุ้มครองผลัประโยชนึ่์ท้างการเงินึ่ท้่�ม่ต�อระบบเศรษฐกิจั

                     เป็็นกลไกในการรับม้อกับผลกระทบทางเศรษฐกิจที�เกิดข้�น ไม่ว่าจะเป็็นความเสี�ยง ความไม่แน่นอน โดยมีส่วนชื้่วยในการควบคุมความเสียห้าย
                 ที�เกิดจากวิกฤติเศรษฐกิจไม่ให้้ขยายวงกว้างข้�นอีกด้วย และลดป็ัจจัยเสี�ยงที�ทำให้้เกิดภาวะเศรษฐกิจติกติ�ำติ่อเน้�อง



                    3. ข้อเสันอแนะเชิิงนโยบาย


                     ท่ามกลางกระแสการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเงินของโลกใน  ที�ระบุไว้ว่า การคุ้มครองผลป็ระโยชื้น์ทางการเงินควรครอบคลุมความ
                 ยุคป็ัจจุบัน จ้งมีข้อเสนอแนะเพิ�มเติิมเชื้ิงนโยบายที�เกี�ยวข้องกับการคุ้มครอง  ห้ลากห้ลายของผลิติภัณ์ฑ์์ทางการเงิน รวมถ้งรองรับการพัฒนาทาง
                 ผลป็ระโยชื้น์ทางการเงินทั�ง 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการป็ระกันภัย   เทคโนโลยีและการผันแป็รของสถานการณ์์เศรษฐกิจในป็ระเทศและ
                 ควรทำการศ้กษาการขยายชื้่องทางให้ม่ ๆ ในการซึ่้�อขายป็ระกันภัยเพ้�อเพิ�ม  สถานการณ์์เศรษฐกิจโลก
                 ความสะดวกติ่อผ้้เอาป็ระกันภัย โดยมีการใชื้้เทคโนโลยีมารองรับการซึ่้�อขาย

                 ป็ระกันภัยให้้มากข้�น 2) ด้านการกำกับด้แลผลป็ระโยชื้น์ของค้่สัญญา
                 ควรมีการศ้กษาแนวทางห้ร้อการผลักดันให้้มีการนำห้ลักการของการด้แล
                 ผลป็ระโยชื้น์ของค้่สัญญามาใชื้้ในธุรกรรมที�เกี�ยวข้องกับการซึ่้�อขายสินค้า
                 และการชื้ำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ให้้มากข้�น เพ้�อให้้ผ้้ซึ่้�อได้ติรวจสอบ
                 ก่อนยอมรับสินค้า และผ้้ขายได้ติรวจสอบความถ้กติ้องของการรับชื้ำระ
                 เงินผ่านชื้่องทางธุรกรรมทางการเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่้�งป็ัจจุบัน
                 การทำธุรกรรมพาณ์ิชื้ย์อิเล็กทรอนิกส์มีการเติิบโติอย่างติ่อเน้�อง ติลอดจน
                 ยังเป็็นการรองรับการพัฒนาทางเทคโนโลยีทางการเงินที�จะมีเพิ�มมากข้�น
                 ในอนาคติ และ 3) ด้านการคุ้มครองเงินฝืาก ควรมีการศ้กษาแนวโน้ม

                 ในการขยายความคุ้มครองเงินฝืากเพ้�อรองรับผลิติภัณ์ฑ์์ทางการเงินให้ม่ ๆ
                 ที�จะเกิดข้�นจากเทคโนโลยีทางการเงินในอนาคติ เชื้่น สกุลเงินดิจิทัล
                 ที�มีคุณ์สมบัติิเสม้อนเงินฝืาก เป็็นติ้น ซึ่้�งจากที�กล่าวมาข้างติ้นมีความ
                 สอดคล้องกับห้ลักการกำกับด้แลผลป็ระโยชื้น์ทางการเงินในทางสากล
                 ขององค์กรเพ้�อความร่วมม้อและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD)





                     บรรณานุกรม:
                     International Association of Deposit Insurers. (2014, Nov). IADI Core Principles for Effective Deposit Insurance Systems. https://www.iadi.org/en/
                     assets/File/Core%20Principles/cprevised2014nov.pdf
                     International Association of Insurance Supervisors. (2018, Nov). Insurance Core Principles, Standard, Guidance and Assessment Methodology.
                     https://www.iaisweb.org/page/supervisory-material/insurance-core-principles/file/77910/all-adopted-icps-updated-november-2018
                     National Association of Insurance Commissioners. (2003, July). Title Insurance Agent Model Act, NAIC Model Laws, Regulations, Guidelines and
                     Other Resource. https://content.naic.org/sites/default/files/inline-files/MDL-230.pdf
                     Organisation for Economic Co-operation and Development. (2011, Oct). G-20 High-Level Principles on Financial Consumer Protection.
                     https://www.oecd.org/daf/fin/financial-markets/48892010.pdf
                     Organisation for Economic Co-operation and Development. (2018, July). Financial Consumer Protection Approaches in the Digital Age.
                     https://www.oecd.org/finance/G20-OECD-Policy-Guidance-Financial-Consumer-Protection-Digital-Age-2018.pdf
                     World Bank. (2017, Dec). Good Practices for Financial Consumer Protection 2017 Edition.
                     https://openknowledge.worldbank.org/bitstream/handle/10986/28996/122011-PUBLIC-GoodPractices-WebFinal.pdf?sequence=1&isAllowed=y




      144    60 ปี วิวัฒน์การเงินการคลังไทย สู่ก้าวต่อไปเพื่อเศรษฐกิจสมดุล
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151