Page 164 - 60 ปี สศค
P. 164

เศรษฐกิิจระหว่่างประเทศ




                      เศรษฐกิิจเพื่่�อคนตััวเล็็กิ: ปรับกิระบวนทััศน์อาเซีียน


                      ในโล็กิยุคหล็ังโควิด 19

                      ธนากร ไพรวรรณ์์
                      สำนักนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ


                     การแพร่ระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด  19) ส่งผลกระทบติ่อเศรษฐกิจทั�วโลก รวมถึึงเศรษฐกิจของอาเซีียน ซีึ�งกล่่ม “คนติัวเล็ก”
                 อันได้แก่ กล่่มผ้้ประกอบการธุ่รกิจขนาดกลาง ขนาดย่อม และรายย่อย (Micro, Small and Medium-sized Enterprises: MSMEs) และผ้้ใชื้้แรงงาน

                 เป็นกล่่มที�จะได้รับผลกระทบมากเป็นพิเศษ เน้�องจากมีเงินออมหร้อแหล่งรายได้สำรองไม่เพียงพอติ่อการรับม้อกับรายได้ที�ลดลง ทั�งนี� หากพิจารณา
                 จากกรอบการฟื้้�นฟื้้ที�ครอบคล่มของอาเซีียน (ASEAN Comprehensive Recovery Framework: ACRF) ซีึ�งเป็นแผนกลย่ทธุ์ในการฟื้้�นฟื้้เศรษฐกิจ
                 ของอาเซีียนในย่คหลังโควิด 19 จะเห็นได้ว่า อาเซีียนยังไม่ได้ให้ความสำคัญกับการฟื้้�นฟื้้และพัฒนาเศรษฐกิจสำหรับคนติัวเล็กอย่างเพียงพอและ
                 เหมาะสม ดังนั�น ผ้้เขียนจึงได้เล็งเห็นความจำเป็นที�จะติ้องมีการปรับกระบวนทัศน์เศรษฐกิจอาเซีียน เพ้�อเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่คนติัวเล็ก
                 ให้สามารถึแข่งขันได้อย่างมีประสิทธุิภาพในโลกย่คหลังโควิด 19 โดยผ้้เขียนมีข้อเสนอ 4 ข้อ ซีึ�งสามารถึดำเนินการได้ภายใติ้กรอบการประชื้่มรัฐมนติรี
                 ว่าการกระทรวงการคลังอาเซีียน (ASEAN Finance Ministers’ Meeting: AFMM) และการประชื้่มรัฐมนติรีว่าการกระทรวงการคลังและผ้้ว่าการ
                 ธุนาคารกลางอาเซีียน (ASEAN Finance Ministers and Central Bank Governors’ Meeting: AFMGM) ที�สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง มีบทบาท
                 สำคัญในการศึกษา วิเคราะห์ เพ้�อกำหนดท่าทีและนโยบายความร่วมม้อภายใติ้กรอบดังกล่าว โดยผ้้เขียนหวังว่า ข้อเสนอที�จะนำเสนอนี�จะสามารถึ
                 นำไปส้่การลดความเหล้�อมล�ำและพัฒนาเศรษฐกิจของอาเซีียนโดยมีประชื้าชื้นเป็นศ้นย์กลางอย่างแท้จริง











                    1. บทนำ

                     โควิิด 19 ถืือเป็็นโรคระบาดที่่�ส่่งผลกระที่บในวิงกวิ้างที่่�สุ่ด   เพื่่�อควบคุมการัแพื่รั่รัะบาด ไม่ว่าจะเป็นการัล็อกดาวน์ จำกัดการั
                 ต่่อป็ระชากรโลกนับต่ั�งแต่่การแพร่ระบาดของไข้หวิัดใหญ่่ส่เป็นระหวิ่าง  เดินทาง และการัเว้นรัะยะห่่างทางสัังคม (Social Distancing) ได้สั่งผล

                 พ.ศ. 2461 - 2463 โดย ณ วิันที่่� 17 มิิถืุนายน 2564 มิ่ผ้้ต่ิดเชื�อโควิิด 19  ให่้การัดำเนินกิจกรัรัมทางเศรัษฐกิจถููกจำกัดลง ซี่�งเป็็นผลให้การเต่ิบโต่
                 รวิมิที่ั�งส่ิ�น 177,819,445 คน และมิ่ผ้้เส่่ยช่วิิต่ 3,849,051 คน โดยในภู้มิิภูาค  ที่างเศรษฐกิจชะลอต่ัวิลงหรือเข้าส่้่ภูาวิะถืดถือยในที่่�สุ่ด ที่่�รุนแรงไป็กวิ่านั�น
                 อาเซี่ยนมิ่ผ้้ต่ิดเชื�อรวิมิที่ั�งส่ิ�น 4,414,839 คน และมิ่ผ้้เส่่ยช่วิิต่ 86,025 คน  คือ การแพร่ระบาดของโควิิด 19 ได้ส่่งผลต่่อกิจกรรมิที่างเศรษฐกิจ
                     นอกจากผลกระที่บที่างส่าธารณสุ่ขแล้วิ การแพร่ระบาดของ  ระหวิ่างป็ระเที่ศ ได้แก่ การค้า การลงทีุ่น การที่่องเที่่�ยวิ และเงินโอน
                 โควิิด 19 ยังส่่งผลกระที่บต่่อเศรษฐกิจอย่างกวิ้างขวิางและรุนแรงอ่กด้วิย  ข้ามิป็ระเที่ศ (Remittances) ลดลงอย่างมิาก อันมิ่ผลให้ส่ภูาวิะเศรษฐกิจ
                 กล่าวิคือ ที่ำให้กิจกรรมิที่างเศรษฐกิจหยุดชะงักซี่�งส่่งผลที่ำให้รายได้  ของแต่่ละป็ระเที่ศยิ�งย�ำแย่และซีบเซีาลงไป็อ่ก ดังนั�น รัฐบาลจ่งจำเป็็น
                 ของครอบครัวิที่่�มิ่ผ้้ต่ิดเชื�อลดลงเนื�องจากการขาดงานหรือการเส่่ยช่วิิต่ของ  ต่้องเข้ามิามิ่บที่บาที่ในการกระตุ่้นเศรษฐกิจโดยการเย่ยวิยาป็ระชาชนและ

                 ส่มิาชิกในครอบครัวิ รวิมิถื่งการดำเนิน นโยบายของรััฐบาลปรัะเทศต่่าง ๆ   ภูาคธุรกิจที่่�ได้รับผลกระที่บจากโควิิด 19 ดังป็รากฏต่ามิภูาพที่่� 1









      162    60 ปี วิวัฒน์การเงินการคลังไทย สู่ก้าวต่อไปเพื่อเศรษฐกิจสมดุล
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169